การบันทึกครั้งที่ 2 วันศุกร์ ที่ 15 มกราคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.
สรุปวิจัย
เรื่อง กาพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ชื่อผู้เขียน: คมขวัญ อ่อนบึงพร้าว
ปริญญา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อผู้เขียน: คมขวัญ อ่อนบึงพร้าว
ปริญญา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
ในการวิจัยนี้เป็นการทดลอง ศึกษา พัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้รูปแบบในงานศิลปะในการสร้างสรรค์ เพื่อให้ครูได้เป็นแนวทาง การใช้ประโยชน์และให้เด็กได้มีประสิทธิภาพอีกด้วย
ความมุ่งหมาย
เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทั้งก่อนและหลังการทดลองว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือในการวิจัย
1.แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
2.แบบทดสอบทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์
การสรุปคือ
เด็กๆได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยมีคะแนนเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทางคณิต โยรวม 5 ทักษะและจำแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตำแหน่ง ทักษะ การจำแนก ทักษะการนับ 1-30 ทักษะการรู้ค่ารู้จำนวณ และทักษะการเพิ่ม- ลด ภายในจำนวน 1-10 อยู่ในระดับดี สูงกว่าก่อนการทดลอง ผู้วิจัยได้กำหนดผลการเรียน รู้ด้วยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในการเรียนการสอนแต่ละเรื่องไว้ เช่นการบอกตำแหน่งสิ่งของต่างๆ การบอกความเหมือนความต่างของผัก ผลไม้ การนับจำนวณสัตว์เลี้ยงที่อยู่ในภาพ การบอกจำนวณมากกว่าน้อยกว่า การเรียงลำดับสิ่งของ การบอกจำนวณเมื่อเพิ่ม ลด ของจำนวณ
-แต่ในการทำการวิจัยนี้ครูจะต้อง มีปฏิสัมพัธ์กับเด็กและให้เด็กมีปฏิสัมพัธ์ที่ดีด้วยกันอีกด้วย
-สื่อจะต้องเพียงพอกับเด็ก เช่น เป็นสื่อศิลปะ สร้าง การนับลูกปัด ไม้ไอศรีม
-กระตุ้นให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ไม่บังคับเด็ก ให้เด็กรู้จักใช้ความคิดตัวเอง
ความมุ่งหมาย
เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทั้งก่อนและหลังการทดลองว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือในการวิจัย
1.แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
2.แบบทดสอบทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์
การสรุปคือ
เด็กๆได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยมีคะแนนเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทางคณิต โยรวม 5 ทักษะและจำแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตำแหน่ง ทักษะ การจำแนก ทักษะการนับ 1-30 ทักษะการรู้ค่ารู้จำนวณ และทักษะการเพิ่ม- ลด ภายในจำนวน 1-10 อยู่ในระดับดี สูงกว่าก่อนการทดลอง ผู้วิจัยได้กำหนดผลการเรียน รู้ด้วยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในการเรียนการสอนแต่ละเรื่องไว้ เช่นการบอกตำแหน่งสิ่งของต่างๆ การบอกความเหมือนความต่างของผัก ผลไม้ การนับจำนวณสัตว์เลี้ยงที่อยู่ในภาพ การบอกจำนวณมากกว่าน้อยกว่า การเรียงลำดับสิ่งของ การบอกจำนวณเมื่อเพิ่ม ลด ของจำนวณ
-แต่ในการทำการวิจัยนี้ครูจะต้อง มีปฏิสัมพัธ์กับเด็กและให้เด็กมีปฏิสัมพัธ์ที่ดีด้วยกันอีกด้วย
-สื่อจะต้องเพียงพอกับเด็ก เช่น เป็นสื่อศิลปะ สร้าง การนับลูกปัด ไม้ไอศรีม
-กระตุ้นให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ไม่บังคับเด็ก ให้เด็กรู้จักใช้ความคิดตัวเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น